ไลโคพีน มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่มีศักยภาพ มีงานวิจัยว่ามีผลดีต่อมนุษย์ดังนี้ครับ
มีบทบาทในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก เป็นเรื่องที่เขามีงานวิจัยมากที่สุด
มีบทบาทในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก เป็นเรื่องที่เขามีงานวิจัยมากที่สุด
- ช่วยลดการเติบโตของต่อมลูกหมากในผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต มีงานวิจัยที่มีแนวโน้มว่าได้ผลหลายงานวิจัยครับ
- ช่วยบำรุงผิว ทำให้ผิวเนียนนุ่ม ป้องกันผิวเสียจากแสงแดด
- มีคุณสมบัติ ช่วยต้านมะเร็งรังไข่ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งปอด
- ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
- ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน
- ช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของตัวอสุจิในชายที่มีบุตรยาก
เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ ไลโคพีน
ไลโคพีน เป็นสารแคโรทีนอยด์ พบกระจายอยู่ทั่วไปในร่างกาย โดยพบได้มากที่ต่อมหมวกไต (Adrenal) และลูกอัณฑะ (Testis) เนื่องจากร่างกายมนุษย์ ไม่สามารถสังเคราะห์แคโรที นอยด์ขึ้นเองได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องได้รับจากการบริโภคเข้าไป แหล่งของไลโคพีนในอาหารคือ มะเขือเทศและผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศ โดยไลโคพีนเป็นสารแคโรทีนอยด์ที่ให้สีแดงในมะเขือเทศนอกจากนี้ยังพบได้จากผลไม้อื่น ๆ เช่น แตงโม ฝรั่ง มะละกอ และพืชพวกส้ม (อ้างอิงที่ 1)
ไลโคพีนมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่มีศักยภาพ โดยมีความโดดเด่นในด้านการต้านอนุมูลอิสระแบบยับยั้งการทางานของ Singlet Oxygen (Singlet Oxygen Quenching) (อ้างอิงที่ 2,3)
ไลโคพีนมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่มีศักยภาพ โดยมีความโดดเด่นในด้านการต้านอนุมูลอิสระแบบยับยั้งการทางานของ Singlet Oxygen (Singlet Oxygen Quenching) (อ้างอิงที่ 2,3)
มีงานวิจัยต่างๆเกี่ยวกับประโยชน์ของไลโคพีนในหลายๆด้านที่มีต่อมนุษย์ ดังนี้ ประโยชน์ของไลโคพีนต่อสุขภาพของต่อมลูกหมากในเพศชาย มีงานวิจัยในระดับ meta-analysis ซึ่งถือว่าเป็นงานวิจัยที่น่าเชื่อถือที่สุดแบบหนึ่ง สรุปได้ว่า ผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศ และไลโคพีน มีบทบาทในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งต่อมลูกหมาก มักจะพบได้ในชายที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป และชายที่มีพ่อหรือพี่น้องเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากจะมีโอกาสเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากสูงกว่าคนทั่วไป (อ้างอิงที่ 7)
ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาว่า การได้รับไลโคพีนในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากเป็นเวลา 3 สัปดาห์ แล้วทาการผ่าตัดรักษา พบว่า เนื้อร้ายที่พบมีขนาดเล็กลง (อ้างอิงที่ 8-9)
ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาว่า การได้รับไลโคพีนในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากเป็นเวลา 3 สัปดาห์ แล้วทาการผ่าตัดรักษา พบว่า เนื้อร้ายที่พบมีขนาดเล็กลง (อ้างอิงที่ 8-9)
ในด้านการศึกษาเกี่ยวกับโรคต่อมลูกหมากโต มีการศึกษาในชายสูงอายุที่เป็นโรคต่อมลูกหมากโต แต่ไม่ได้เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก จานวน 40 คน โดยได้รับไลโคพีนเป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่า ช่วยหยุดการโตของต่อมลูกหมากได้ (อ้างอิงที่ 10)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อสุขภาพผิว
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อสุขภาพผิว
เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่ามีการใช้มะเขือเทศในการบารุงผิวพรรณ เช่น นามาฝานเป็นแว่นๆ แล้วใช้แปะที่ผิว หรือรอบดวงตา การดื่มน้ามะเขือเทศเพื่อบารุงผิวพรรณ เป็นต้น มีการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างไลโคพีนกับสุขภาพผิว โดยทาการศึกษาในกลุ่มผู้หญิงอายุ 40-50 ปี จานวน 20 คน พบว่า ผู้หญิงที่มีปริมาณไลโคพีนสูงกว่า จะมีผิวที่เนียนนุ่มกว่า (อ้างอิงที่ 11)งานวิจัยในมนุษย์พบว่า การได้รับไลโคพีนช่วยป้องกันผิวเสียจากแสงแดดได้ (อ้างอิงที่ 12)
ประโยชน์ของไลโคพีนในการต้านมะเร็ง ไลโคพีนยังอาจช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งได้อีกหลายชนิดด้วยคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 13) มีงานวิจัยในระดับ meta-analysis ซึ่งเป็นงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ รายงานว่า ไลโคพีน มีบทบาทในการลดความเสี่ยงของมะเร็งรังไข่ในหญิงวัยหมดประจาเดือน ลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งหลอดอาหารได้ (อ้างอิงที่ 14-16)
การศึกษาอื่นๆพบว่า ไลโคพีนยังช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องมะเร็งปอดได้ (อ้างอิงที่ 17)
การศึกษาอื่นๆพบว่า ไลโคพีนยังช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องมะเร็งปอดได้ (อ้างอิงที่ 17)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
มีการศีกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease) พบว่าไลโคพีนช่วยทาให้การทางานของเซลล์ในหลอดเลือดดีขึ้น (อ้างอิงที่ 18) รายงานการศึกษาเกี่ยวกับไลโคพีนระบุว่า ไลโคพีนช่วยต้านการพัฒนาของโรคหลอดเลือดหัวใจไม่ให้ลุกลามได้ (อ้างอิงที่ 19) มีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับไลโคพีนกับอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นระยะเวลานานกว่า 10 ปี พบว่า การได้รับไลโคพีนช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ (อ้างอิงที่ 20)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อโรคกระดูกพรุน
มีรายงานการศีกษาในกลุ่มผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน พบว่าการได้รับไลโคพีนช่วยลดการสลายของกระดูกได้ จึงอาจเป็นประโยชน์ในการลดความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน (อ้างอิงที่ 21,22)
และจากการติดตามศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เป็นเพศชาย 370 คน และเพศหญิง 576 คน อายุ 70-80 ปี เป็นเวลากว่า 17 ปี พบว่า ในกลุ่มที่ได้รับไลโคพีนสูง ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดกระดูกสะโพกหักได้ (อ้างอิงที่ 23)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อภาวการณ์มีบุตรยากในเพศชาย
มีรายงานการศีกษาเรื่องไลโคพีนกับภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย พบว่า ไลโคพีนช่วยทาให้มีปริมาณอสุจิสูงขึ้น มีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น และช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันได้ ทั้งยังมีรายงานในมนุษย์ว่าช่วยเพิ่มอัตราการตั้งครรภ์ได้ (อ้างอิงที่ 24)
อีกการศึกษาหนึ่งทากับกลุ่มชายที่มีบุตรยากโดยไม่ทราบสาเหตุ พบว่าช่วยเพิ่มจานวนอสุจิได้ ลักษณะรูปร่างของตัวอสุจิและคุณภาพการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิดีขึ้น (อ้างอิงที่ 25)
ข้อควรระวัง มีดังนี้ครับ
ไลโคพีน มีผลต่อการแข็งตัวของเกร็ดเลือดเล็กน้อย และอาจจะมีผลส่งเสริม การทำงานของยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด จึงไม่แนะนำ ในผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด แม้ว่าจะยังไม่มีรายงาน การก่อให้เกิดเลือดออก เลยก็ตามนะครับ ควรระวังไม่แนะนำไว้ก่อน ไลโคพีน อาจจะทำให้ความดันต่ำได้ ในผู้ป่วยที่ความดันต่ำ จึงควรระวัง อาจจะไม่รับประทานในผู้ป่วยกลุ่มนี้ครับ
มีการศีกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease) พบว่าไลโคพีนช่วยทาให้การทางานของเซลล์ในหลอดเลือดดีขึ้น (อ้างอิงที่ 18) รายงานการศึกษาเกี่ยวกับไลโคพีนระบุว่า ไลโคพีนช่วยต้านการพัฒนาของโรคหลอดเลือดหัวใจไม่ให้ลุกลามได้ (อ้างอิงที่ 19) มีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับไลโคพีนกับอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นระยะเวลานานกว่า 10 ปี พบว่า การได้รับไลโคพีนช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ (อ้างอิงที่ 20)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อโรคกระดูกพรุน
มีรายงานการศีกษาในกลุ่มผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน พบว่าการได้รับไลโคพีนช่วยลดการสลายของกระดูกได้ จึงอาจเป็นประโยชน์ในการลดความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน (อ้างอิงที่ 21,22)
และจากการติดตามศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เป็นเพศชาย 370 คน และเพศหญิง 576 คน อายุ 70-80 ปี เป็นเวลากว่า 17 ปี พบว่า ในกลุ่มที่ได้รับไลโคพีนสูง ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดกระดูกสะโพกหักได้ (อ้างอิงที่ 23)
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อภาวการณ์มีบุตรยากในเพศชาย
มีรายงานการศีกษาเรื่องไลโคพีนกับภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย พบว่า ไลโคพีนช่วยทาให้มีปริมาณอสุจิสูงขึ้น มีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น และช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันได้ ทั้งยังมีรายงานในมนุษย์ว่าช่วยเพิ่มอัตราการตั้งครรภ์ได้ (อ้างอิงที่ 24)
อีกการศึกษาหนึ่งทากับกลุ่มชายที่มีบุตรยากโดยไม่ทราบสาเหตุ พบว่าช่วยเพิ่มจานวนอสุจิได้ ลักษณะรูปร่างของตัวอสุจิและคุณภาพการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิดีขึ้น (อ้างอิงที่ 25)
ข้อควรระวัง มีดังนี้ครับ
ไลโคพีน มีผลต่อการแข็งตัวของเกร็ดเลือดเล็กน้อย และอาจจะมีผลส่งเสริม การทำงานของยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด จึงไม่แนะนำ ในผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด แม้ว่าจะยังไม่มีรายงาน การก่อให้เกิดเลือดออก เลยก็ตามนะครับ ควรระวังไม่แนะนำไว้ก่อน ไลโคพีน อาจจะทำให้ความดันต่ำได้ ในผู้ป่วยที่ความดันต่ำ จึงควรระวัง อาจจะไม่รับประทานในผู้ป่วยกลุ่มนี้ครับ